แนวทางที่ 1 การเสริมศักยภาพการศึกษาทางไกลหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ของสถาบัน กศน.ภาค โดยการดำเนินงานต่างๆ จะต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับองค์ประกอบ 3 ประการคือ
ประการที่1 บทบาทของสถาบัน กศน. ภาค กับแนวคิดเรื่องการศึกษาทางไกล
ประการที่ 2 การวิเคราะห์ SWOT กับแนวคิดเรื่องการศึกษาทางไกล
ประการที่ 2ภารกิจต่อเนื่องกิจกรรมการศึกษาทางไกล กับ Online Learning โดยมีข้อเสนอแนะดังนี้ เพิ่มทางเลือกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาทางไกลหลักสูตรต่อเนื่อง โดยนำเอา ICT เข้ามาช่ว
1.1 กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผ่านสื่อ Online (เพิ่มเติมจากการอ่านหนังสือ)
1.2 การสอนเสริม realtime ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (เช่น Chat หรือ webboard แบบใกล้เคียงกับ realtime)
1.3 การนิเทศ Online ผสมผสานกับการนิเทศโดยตรงจากครูที่ปรึกษา
1.4 แนะแนว Online
1.5 ประเมินผลตนเองผ่านระบบ Online
หมายเหตุ จะใช้ได้ดีกับผู้เรียนที่มีความพร้อม ซึ่งกระบวนการดังกล่าว อาจจะต้องประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เช่น อบต.ที่มีความพร้อมเรื่องคอมพิวเตอร์ หรือ ศูนย์ กศน. อำเภอ ที่มีความพร้อมเกี่ยวกับห้องเรียนคอมพิวเตอร์
2 พัฒนาสื่อ และแหล่งการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และกว้างขวาง เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ได้เพิ่มเติมมากว่าจากเอกสาร หรือ e;Learning เพียงอย่างเดียว
3 เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในการใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอน 3 กลุ่มคือ
3.2 ผู้สอน
3.3 ผู้พัฒนาสื่อ
3.3 ผู้เรียน จากแนวทางนี้ ทำให้รูปแบบการศึกษาทางไกลหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องในปัจจุบัน สามารถดำเนินการได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 รูปแบบเดิมที่ดำเนินการในปัจจุบัน รูปแบบที 2 รูปแบบเดิม ผนวกกับกระบวนการ Online
แนวทางที่สอง การขยายรูปแบบ e-Training ไปจัง สำนักงาน กศน. จังหวัด โดยนำรูปแบบที่ได้จากการทดลองไปเผยแพร่ให้สำนักงาน กศน. จังหวัด ใช้ในการพัฒนาบุคลากรภายในจังหวัด
แนวทางที่ 3 การเสริมศักยภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสถาบัน กศน. อำเภอ ในรูปแบบ e-Learning โดยใช้รูปแบบการเรียนทางไกลเป็นเครื่องมือ หรือเสริมการเรียนในระบบปกติ
แนวทางที่ 4 การศึกษาตามอัธยาศัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น